Invesment

ไขข้อสงสัย Metaverse กับโลกการเงินเกี่ยวข้องอย่างไร? ทุกธุรกรรมต้องผ่าน พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัลฯ หรือไม่

ไขข้อสงสัย Metaverse กับโลกการเงินเกี่ยวข้องอย่างไร? ทุกธุรกรรมต้องผ่าน พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัลฯ หรือไม่

Read More »

หงายการ์ดป้องกันเม็ดเงินไหลออก!! ทั่วโลกจับตาประชุมเฟด 14-15 ธ.ค.นี้ เชื่อลด QE จ่อขึ้นดอกเบี้ย 2 รอบสกัดเงินเฟ้อ

หงายการ์ดป้องกันเม็ดเงินไหลออก!! ทั่วโลกจับตาประชุมเฟด 14-15 ธ.ค.นี้ เชื่อลด QE จ่อขึ้นดอกเบี้ย 2 รอบสกัดเงินเฟ้อ

Read More »

ตลาดเครื่องมือแพทย์ยังเนื้อหอม SCGP ปิดดีลซื้อบริษัทจาก ‘สเปน’ ดันกำไรเพิ่ม 629 ลบ. คาดคืนทุนใน 5 ปี

ตลาดเครื่องมือแพทย์ยังเนื้อหอม SCGP ปิดดีลซื้อบริษัทจาก ‘สเปน’ ดันกำไรเพิ่ม 629 ลบ. คาดคืนทุนใน 5 ปี

Read More »

เอกชนหวนกลับมาลงทุนมากขึ้น!! ผลักดันยอดปล่อยสินเชื่อทั้งรายเล็ก-รายใหญ่คืนชีพ

ช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ ภาคเอกชนจะชะลอการลงทุนส่งผลให้การกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ลดลงตามไปด้วย อย่างไรก็ตามภายหลังจากรัฐผ่อนคลายมาตรการคุมโควิด-19 ก็ทำให้ภาคเอกชนเริ่มกลับมาลงทุนอีกครั้ง ส่งผลดีต่อภาพรวมการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ในปี 2565 ทาง ‘ttb analytics’ คาดการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ในปี 2565 มีแนวโน้มดีขึ้นต่อเนื่อง ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและการลงทุนภาคเอกชน โดยคาดว่าสินเชื่อโดยรวมมีแนวโน้มขยายตัวได้ 5.5% ขณะที่เงินฝากมีทิศทางเติบโตในอัตราที่ชะลอตัวจากการฟื้นตัวของการบริโภคภายในประเทศและการปรับเปลี่ยนการลงทุนในสินทรัพย์ประเภทอื่น ๆ ส่วนด้านคุณภาพสินเชื่อโดยรวมยังทรงตัวอยู่ในระดับ 3% จากนโยบายการปรับโครงสร้างหนี้ (debt restructuring) ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยประเมินอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมคงที่อยู่ในระดับต่ำ จากการปรับลดอัตรานำส่งเงินสมทบกองทุนฟื้นฟูฯ (FIDF) และแนวโน้มอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ทรงตัวในปี 2565 ขณะที่มองแนวโน้มสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ในปี 2565 มีปัจจัยสนับสนุนจากการเติบโตของสินเชื่อทั้งภาคธุรกิจและรายย่อย ในภาพรวมสินเชื่อธุรกิจ พบว่าสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่มีแนวโน้มขยายตัว 4.2% นำโดยสินเชื่อภาคการผลิต และภาคก่อสร้าง ซึ่งได้รับแรงสนับสนุนจากการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะใน EEC มาตรการส่งเสริมการลงทุนของ BOI และการค้าระหว่างประเทศที่เติบโตดี ส่วนสินเชื่อธุรกิจ SMEs คาดการณ์เติบโตที่ 4.5% จากหลายปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ แนวโน้มการฟื้นตัวที่ดีของธุรกิจภายหลังการเปิดประเทศ …

Read More »

7 มิติที่ไทยต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วนเพื่อก้าวให้ทันโลก!!

เศรษฐกิจไทยในปี 2564 ไม่ได้เจอแค่ผลกระทบจากแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 แต่ยังต้องเผชิญกับความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี การเข้าสู่สังคมสูงวัย และยังมีสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง ที่เป็นตัวฉุดให้เสถียรภาพลดลง เมื่อเจอกับโรคระบาดเข้ามาผสมโรงจึงเกิดผลกระทบอย่างรุนแรง เพราะตัวแปรเหล่านี้เป็นสิ่งที่ขัดขวางการพัฒนาประเทศ หากเราต้องการให้เศรษฐกิจฟื้นตัวอย่างยั่งยืนต้องอาศัยการพัฒนาทุกมิติ เน้นการเพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมที่เป็นจุดแข็ง และปิดส่วนที่เป็นจุดอ่อนให้รวดเร็ว ภาพรวมเศรษฐกิจประเทศไทยในปี 2564 ได้รับผลกระทบมาต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2563 และยังมาเจอผลกระทบที่หนักขึ้นนำไปสู่การใช้มาตรการคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่เข้มงวดในไตรมาส 3/2564 และเพิ่งได้เปิดประเทศช่วงท้ายปี ดังนั้น GDP ปี 2564 จึงถูกคาดการณ์ว่าจะเหลือการเติบโตเพียง 0.3% – 1.2% เท่านั้น เมื่อนำภาพรวมเศรษฐกิจไทยมาวิเคราะห์จุดบกพร่อง ตามบริบทและสถานะในการพัฒนาของประเทศไทยภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ของ ‘สภาพัฒน์ฯ’ จะเห็นว่าเรายังขาดศักยภาพในหลาย ๆ มิติ เป็นที่มาของการไม่สามารถบรรลุเป้าหมายในเวลาที่กำหนด สิ่งที่เป็นจุดบกพร่องของทั้ง 7 มิติ ที่ควรแก้ไขเพื่อพัฒนาศักยภาพมีดังนี้ มิติความมั่นคง พบว่าเสถียรภาพทางการเมืองและประสิทธิผลของรัฐบาลลดลง เพราะประเทศไทยยังมีสถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศที่เกิดความแตกแยกทางความคิด จนเกิดเหตุการประท้วงมาอย่างยาวนาน ซึ่งถือเป็นประเด็นเรื้อรังของสังคมที่ทำให้ความเชื่อมั่นต่อรัฐบาลไทยลดน้อยลงทุกที ขณะที่ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินยังค่อนข้างน่าเป็นห่วง ข้อมูลจาก …

Read More »