New Chapter 'EXIM BANK' รวมพลังความกล้า พัฒนาเพื่อคนไทย
Read More »
New Chapter 'EXIM BANK' รวมพลังความกล้า พัฒนาเพื่อคนไทย
Read More »ในปัจจุบัน ผู้คนส่วนใหญ่มีชีวิตที่สะดวกสบายมากขึ้นจากการผลิตและพัฒนาอย่างต่อเนื่องของเทคโนโลยี หากยกตัวอย่างให้เห็นภาพที่ชัดเจน คงจะเป็นการเดินทางในยามเช้าหากเราต้องการเดินทางไปโรงเรียนหรือทำงาน เราสามารถตรวจสอบเส้นทางและหลีกเลี่ยงปัญหาด้านการจราจรได้ผ่านทาง application บนโทรศัพท์มือถือ ซึ่งทั้งสะดวกและประหยัดเวลา นอกเหนือจากโทรศัพท์มือถือ ยังมีเทคโนโลยีที่ถูกสร้างขึ้นด้วย Artificial Intelligence (AI) และ วิทยาการหุ่นยนต์ (Robotics) อีกมากมาย ซึ่งวันนี้ OPEN-TEC ศูนย์รวมองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี (Tech Knowledge Sharing Platform) ภายใต้การดูแลของ TCC TECHNOLOGY GROUP ได้หยิบยกมุมมองและประสบการณ์ในการพัฒนา Artificial intelligence (AI) และวิทยาการหุ่นยนต์ (Robotics) จากภายในงาน “Digital Transformation Summit 2022” มาแบ่งปันภายใต้หัวข้อ “How artificial intelligence and robotics change our live” โดยตัวแทนของภาครัฐ รศ.ดร. …
Read More »นพดล ปัญญาธิปัตย์ กับภารกิจสร้างชัยชนะของเดลล์ ผ่าน out come ของลูกค้า
Read More »‘สุเวทย์ ธีรวชิรกุล’ ผู้ผลักดันธุรกิจ ภายใต้แนวคิด “ทุกอย่างเป็นไปได้”
Read More »ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เคยถูกจำกัดขอบเขตการใช้เพียงแค่ในงานด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมหาศาลเพื่อแก้ปัญหาทางการแพทย์ ปัญหาสิ่งแวดล้อม และความท้าทายด้านโครงสร้างพื้นฐานไอที อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเช่น การแพร่ระบาดครั้งใหญ่ และสิ่งที่ตามมาจากการใช้เทคโนโลยีบนคลาวด์ เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI), แมชชีนเลิร์นนิ่ง (ML) และการประมวลผลประสิทธิภาพสูง (high-performance computing: HPC) ซึ่งต้องอาศัยประสิทธิภาพของซูเปอร์คอมพิวเตอร์และคลัสเตอร์ด้านการประมวลผล เพื่อแก้ปัญหาการคำนวณขั้นสูง ทำให้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เริ่มเข้ามามีบทบาทในองค์กรต่าง ๆ มากขึ้น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เปิดโอกาสใหม่ ๆ ในการพัฒนานวัตกรรมที่ล้ำสมัย ทำให้กระบวนการในการทำวิจัยและพัฒนา (R&D) รวดเร็วขึ้น รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามลำดับความสำคัญ เช่นเดียวกับการที่คลาวด์คอมพิวติ้งที่องค์กรใช้ ได้สร้างแนวทางทางธุรกิจใหม่ ๆ เพื่อดึงให้ลูกค้าเข้ามามีส่วนร่วม และทำให้เกิดวิธีการทำงานแบบใหม่ที่ยืดหยุ่นมากขึ้น การที่ธุรกิจบางแห่งยังคงไม่มั่นใจในการใช้เทคโนโลยีการประมวลผลประสิทธิภาพสูง (HPC) และมีทัศนคติว่าเทคโนโลยีประเภทนี้ไม่สำคัญต่อการดำเนินงานในแต่ละวันในอีกหลายปีข้างหน้านั้นถือเป็นเรื่องปกติ แต่อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีที่ล้ำสมัยนี้กำลังจะเป็นเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบขององค์กรธุรกิจในอนาคต เช่นเดียวกับโครงสร้างพื้นฐานไฮเปอร์คอนเวิร์จ (HCI) และโครงสร้างพื้นฐานเวอร์ชวลเดสก์ท็อป (VDI) ประหยัดพลังงาน ข้อมูลของ IDC ระบุว่าภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก กำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบ …
Read More »แนวคิด ‘ความจริง 3 อย่าง’ เบื้องหลังการพา บริษัทฯ เติบโตในแบบ ดร.สมพร สืบถวิลกุล
Read More »ดร.ดนันท์ สุภัทรพันธุ์ เปลี่ยนผ่านไปรษณีย์ไทย บน ‘เป้าหมายยิ่งใหญ่และไม่ยอมแพ้’
Read More »ขัตติยา อินทรวิชัย ขับเคลื่อน ‘กสิกรไทย’ ยุคใหม่
Read More »ประสบความสำเร็จตามเป้าไปเป็นที่เรียบร้อย สำหรับมหกรรมด้านความยั่งยืนที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน (Sustainability Expo – SX2022) ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึ่งภายในงาน บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จำกัด (TCCtech) ได้ร่วมมือกับ บริษัท ทีสเปซ ดิจิตอล จำกัด (TSPACE) นำทีมโดย คุณวรดิษฐ์ วิญญรัตน์ Managing Director (คนที่ 2 จากซ้าย) และ บริษัท เอสทีที จีดีซี (ประเทศไทย) จำกัด (STT GDC) นำทีมโดย คุณศุภรัฒศ์ ศิวะเพ็ชรานาถ สิงหรา ณ อยุธยา Chief Executive Officer (คนที่ 1 จากซ้าย) ภายใต้การบริหารจัดการของ บริษัท …
Read More »โดย ทวิพงศ์ อโนทัยสินทวี ผู้จัดการประจำประเทศไทย นูทานิคซ์ สมาร์ทซิตี้ หรือเมืองอัจฉริยะ คือ วิสัยทัศน์ที่เน้นประสิทธิภาพและการติดต่อเชื่อมโยงถึงกันมากขึ้นในอนาคต ผ่านการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และข้อมูลไปในทิศทางที่ช่วยให้เมืองนั้น ๆ มีความยั่งยืนมากขึ้น ลดผลกระทบต่อคนและสิ่งแวดล้อม และสามารถให้บริการอัตโนมัติด้านต่าง ๆ ให้กับประชาชนได้มากขึ้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการติดตามตรวจสอบสภาพแวดล้อม ไปจนถึงการบริหารจัดการการจราจรอัจฉริยะ และขีดความสามารถด้านการชำระเงินแบบดิจิทัล ช่วยให้เมืองต่าง ๆ พัฒนาศักยภาพที่จะเป็นตัวกำหนดอนาคตของเมืองที่เป็นศูนย์กลางได้อย่างไร้ขีดจำกัด รัฐบาลทั่วโลกต่างเร่งพัฒนาสมาร์ทซิตี้ และการเร่งสร้างเมืองที่ชาญฉลาดทำให้การวางผังเมืองเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าตลาดสมาร์ทซิตี้ทั่วโลกกำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว และเป็นที่คาดการณ์ว่าจะเกินระดับ 2.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายในต้นปี 2568[1] ซึ่งสูงกว่าการคาดการณ์ไว้ที่ 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อปี 2563 ถึงสองเท่า แม้ความกดดันทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการระบาดของโควิด-19[2] จะทำให้การพัฒนาสมาร์ทซิตี้ชะลอตัวลงชั่วคราว แต่บริษัทด้านเทคโนโลยีใหญ่ ๆ ของโลกบางแห่งต่างยังคงลงทุนในโครงการด้านสมาร์ทซิตี้อย่างหนักและต่อเนื่อง เมื่อปี 2560 รัฐบาลไทยได้จัดตั้ง สำนักงานเมืองอัจฉริยะ[3] โดยเป็นหน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม …
Read More »