Tag Archives: มหาวิทยาลัยมหิดล

เอ็นไอเอร่วมไทยยูเนี่ยน – ม.มหิดล เปิดเวทีดัน 23 สตาร์ทอัพสายฟู้ด ผ่าน “สเปซ-เอฟ” บิ๊กโปรแกรมปั้นฟู้ดเทคระดับโลกแห่งแรกของไทย

เอ็นไอเอชี้เทรนด์การพัฒนานวัตกรรมอาหารโลก พร้อมดึงภาคอุตฯ – การศึกษา ประเดิมปั้นฟู้ดเทคสตาร์ทอัพ 9 สาขา ร่วมพลิกโฉมอุตฯอาหารตอบโจทย์ “ครัวโลก”   11 พฤศจิกายน 2562, กรุงเทพฯ – สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ร่วมกับ บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)   และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดตัว 23 สตาร์ทอัพที่ผ่านการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ สเปซ-เอฟ (SPACE-F)  อย่างเป็นทางการ SPACE-F เป็นโปรแกรมการพัฒนาสตาร์ทอัพด้านอาหารในระดับนานาชาติให้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยโครงการดังกล่าวจัดตั้งขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของประเทศไทยในฐานะการเป็น “ครัวโลก” ด้วยการนำนวัตกรรมมาช่วยยกระดับให้อุตสาหกรรมอาหารเติบโต  น่าสนใจ นอกจากนี้ยังช่วยผลักดันสตาร์ทอัพสาขานวัตกรรมอาหารให้มีคุณภาพ ความหลากหลาย สอดรับกับความต้องการของภาคธุรกิจ   ในปีแรกของ SPACE-F นี้ได้รับใบสมัครจากสตาร์ทอัพ 142 ทีมทั่วโลก ซึ่งคณะกรรมการได้คัดเลือกจนเหลือ 23 …

Read More »

ม.มหิดล จัดงาน “Mahidol University International Night 2019” รวมความต่างให้เป็นหนึ่งเดียว

การเปิดโอกาสนักศึกษานานาชาติ และนักศึกษาไทยภายในมหาวิทยาลัยมหิดลได้ทำกิจกรรมร่วมกัน คือ หัวใจสำคัญเพื่อสร้างบรรยากาศความเป็นนานาชาติให้เกิดขึ้นในรั้วมหาวิทยาลัย โดยเมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๒ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงาน “Mahidol University International Night 2019” ซึ่งในปีนี้จัดขึ้นด้วยธีม “Cultural Synergy” หรือ ความกลมกลืนของการรวมวัฒนธรรมที่แตกต่างกันให้เป็นหนึ่งเดียว เหมือนภาพโมเสกที่มีความแตกต่างกัน เมื่อมารวมกันก่อให้เกิดภาพที่งดงาม งาน “Mahidol University International Night 2019” จัดขึ้นโดย กองวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานอธิการบดี ร่วมกับ ส่วนงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล โดยได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธันย์ สุภัทรพันธุ์ รักษาการแทนรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นประธานกล่าวเปิดงาน พร้อมด้วย ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.นภเรณู สัจจรักษ์ ธีระฐิติ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ …

Read More »

ม.มหิดล ชูยุทธศาสตร์ เตรียมพร้อมนักศึกษาสู่พลเมืองโลก เสริมทักษะความรู้ยุคศตวรรษที่ 21

ในโลกยุคศตวรรษที่ 21 สถานการณ์ต่างๆ ทั่วโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ทุกสถาบันการศึกษา ต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมพร้อมนักศึกษาก้าวสู่การเป็นพลเมืองโลก (global citizenship) ซึ่งถือเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งที่สำคัญของมหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า ในการมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก (World Class University) มหาวิทยาลัยมหิดลได้นำแนวทางการจัดการศึกษาแบบมุ่งผลลัพธ์ (Outcome based Education) เข้ามาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและการวัดผล รวมทั้ง นำเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-QA) มาเป็นกลไกในการรักษาคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา  และยังได้มองไปถึงโลกอนาคตที่นักศึกษาต้องออกไปเผชิญเมื่อจบการศึกษา จึงได้มีเป้าหมายที่จะพัฒนานักศึกษาไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) มีการบูรณาการหลักสูตรโดยร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ  และภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศในทุกกลุ่มสาขาวิชา เพื่อพัฒนาทักษะ และประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา ในส่วนของกิจกรรมเสริมหลักสูตรรูปแบบใหม่เพื่อมุ่งเน้นพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ในการใช้ชีวิตยุคศตวรรษที่ 21 (global talents) มหาวิทยาลัยมหิดลได้จัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาเป็นผู้เลือก เพื่อสะสมทักษะที่จำเป็นต่อการทำงานและการใช้ชีวิตในอนาคต กิจกรรมนี้ คือ “Mahidol HIDEF” เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะความรู้ที่ไม่ได้มีอยู่เฉพาะในตำราเรียนเท่านั้น ได้แก่ 1) …

Read More »

รองผอ.iNT ม.มหิดล ชี้ทุกคนสามารถสร้าง innovation ให้เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้

ดร.วนรักษ์ ชัยมาโย รองผู้อำนวยการสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล (iNT) ศิษย์เก่าปริญญาตรี ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้คว้าทุนปริญญาเอก จาก มหาวิทยาลัย The University of Edinburgh สหราชอาณาจักร และดีกรีหลังปริญญาเอก จาก University of Rochester Medical Center ประเทศสหรัฐอเมริกา ดร.วนรักษ์ ชัยมาโย เล่าว่า หลังจากจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ตั้งใจเรียนต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อรักษาอุดมการณ์ของโรงเรียนที่ให้ปลูกฝังให้รักวิทยาศาสตร์ และเลือกเรียนฟิสิกส์ เนื่องจากชอบค้นหา สรรค์สร้างสิ่งใหม่ และสนใจเรื่องการสร้างงานนวัตกรรม (innovation) โดยเมื่อครั้งยังเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เป็นหนึ่งในสมาชิกของทีมนักศึกษาไทยที่ชนะการประกวดโครงการ Student Zerogravity Flight Experiment Contest ที่จัดขึ้นเมื่อปี …

Read More »

รองผอ.iNT ม.มหิดล ชี้ทุกคนสามารถสร้าง innovation ให้เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้

ดร.วนรักษ์ ชัยมาโย รองผู้อำนวยการสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล (iNT) ศิษย์เก่าปริญญาตรี ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้คว้าทุนปริญญาเอก จาก มหาวิทยาลัย The University of Edinburgh สหราชอาณาจักร และดีกรีหลังปริญญาเอก จาก University of Rochester Medical Center ประเทศสหรัฐอเมริกา ดร.วนรักษ์ ชัยมาโย เล่าว่า หลังจากจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ตั้งใจเรียนต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อรักษาอุดมการณ์ของโรงเรียนที่ให้ปลูกฝังให้รักวิทยาศาสตร์ และเลือกเรียนฟิสิกส์ เนื่องจากชอบค้นหา สรรค์สร้างสิ่งใหม่ และสนใจเรื่องการสร้างงานนวัตกรรม (innovation) โดยเมื่อครั้งยังเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เป็นหนึ่งในสมาชิกของทีมนักศึกษาไทยที่ชนะการประกวดโครงการ Student Zerogravity Flight Experiment Contest ที่จัดขึ้นเมื่อปี …

Read More »

รศ.ดร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ปอมท. สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ปี 62

  ที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ได้มีมติเห็นชอบให้ รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เข้ารับรางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2562 สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ปอมท. ประจำปี พ.ศ. 2562 ที่จะจัดระหว่างวันที่  24 – 25 ตุลาคม 2562 ณ เดอะ ไทด์ รีสอร์ท จังหวัดชลบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เคมีอุตสาหกรรม) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และปริญญาเอก สาขาฟิสิกส์พอลิเมอร์ จากมหาวิทยาลัยลีดส์ ประเทศสหราชอาณาจักร ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาฟิสิกส์พอลิเมอร์ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ในปี พ.ศ. 2543 จากผลงานการวิจัยดีเด่นด้านพอลิเมอร์ …

Read More »

คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล วิจัยคัดกรองเซลล์มะเร็ง มุ่งลดอัตราการตายผู้ป่วยมะเร็งนมในผู้หญิงไทย

คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล วิจัยคัดกรองเซลล์มะเร็งก่อนระยะแพร่กระจาย ด้วยอนุภาคนาโนทองและแม่เหล็ก มุ่งลดอัตราการตายผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในผู้หญิงไทย

Read More »

ผอ.ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา ม.มหิดล แนะสื่อสารในครอบครัว ด้วยหลักจิตตปัญญา

รศ.นพ.ชัชวาลย์ ศิลปกิจ ผอ.ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา ม.มหิดล แนะสื่อสารในครอบครัว ด้วยหลักจิตตปัญญา จิตตปัญญา คือ กระบวนการเรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ เป็นการศึกษาที่เน้นการพัฒนาด้านในอย่างแท้จริง เพื่อให้เกิดความตระหนักรู้ถึงคุณค่าของสิ่งต่างๆ โดยปราศจากอคติ เกิดความรักความเมตตา อ่อนน้อมต่อธรรมชาติ มีจิตสำนึกต่อส่วนรวม และสามารถเชื่อมโยงศาสตร์ต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในชีวิตได้อย่างสมดุล

Read More »

นศ.วิทยาลัยศาสนศึกษา ม.มหิดล รับพระราชทานทุนภูมิพล ประจำปี 2562

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (ร.9) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อเป็นทุนการศึกษาแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีพระราชประสงค์ให้มหาวิทยาลัยตั้งชื่อทุนนี้ว่า “ทุนภูมิพล” และเพื่อเป็นการสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านที่มีต่อมหาวิทยาลัย และนักศึกษาที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกได้รับทุนภูมิพลเกิดความภาคภูมิใจ มหาวิทยาลัยจึงให้นักศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษาเข้ารับพระราชทานทุนภูมิพลในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ซึ่งคุณสมบัติของผู้ขอรับทุนการศึกษา เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลระดับปริญญาตรี กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ขึ้นไป ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00 ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษา มีความประพฤติดี สุภาพเรียบร้อย และมีผลงานเด่นด้านกิจกรรม โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษารับรอง 2 ตุลาคม 2562 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานทุนภูมิพล ประจำปี 2562 แก่ นายสิวลี วงศ์สว่างพานิช นักศึกษาชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา 2561 ณ หอประชุมมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล …

Read More »

คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล เปิดศูนย์ MU-FAHLA ถ่ายทอดเทคโนโลยีบุคลากรรังสีเทคนิคระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล โชว์ศักยภาพ “Strong in Practice, Smart in Profession” เปิดศูนย์ MU-FAHLA ถ่ายทอดเทคโนโลยีบุคลากรรังสีเทคนิคระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก นับตั้งแต่ ปี พ.ศ.2508 ที่ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือกำเนิดขึ้นมาเป็นลำดับแรกๆ ในภูมิภาคอาเซียน รับใช้สังคมภายใต้อัตลักษณ์ “Strong in Practice, Smart in Profession” มาเป็นเวลา 54 ปี ได้พิสูจน์แล้วถึงศักยภาพทางวิชาการ และการวิจัยที่แข็งแกร่ง นำมาซึ่งภาคภูมิใจในวิชาชีพ ศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า “รังสีเทคนิค” เป็นวิชาชีพที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการทางการแพทย์ และระบบสาธารณสุขในการตรวจวินิจฉัย รักษา จำลองเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย โดยการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางด้านรังสีเทคนิค …

Read More »