สายงานรองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า (รวฟ.) จัดสัมมนา Power Digital Solution Roadmap สร้างสรรค์นวัตกรรม นําเทคโนโลยี ดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการปรับเปลียนกระบวนการทํางาน รวมทังการจัดเตรียมบุคลากรให้สอดรับกับโครงสร้างพืนฐาน เป็นไปใน ทิศทางเดียวกับการพัฒนาดิจิทัลเพือเศรษฐกิจและสังคมไทย
วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (ผวก.) เป็นประธานเปิดการ สัมมนา Power Digital Solution Roadmap โดยมีนายณัฐวุฒิ แจ่มแจ้ง รวฟ. กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดงาน ทังนีได้รับเกียรติ จาก นางสาวอัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชัย ปลัดกระทรวง ดิจิทัลเพือเศรษฐกิจและสังคม ดร.พิชัยรัตน์ จิรานันท์ ผู้อํานวยการโครงการ Robotics AI and Intelligent Solution จากบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และนายคุริฮาระ มาซายูกิ ผู้จัดการทัวไป จากบริษัท มารุบินี คอร์ปอเรชัน มาร่วมแลกเปลียนมิติและมุมมองในการพัฒนาระบบดิจิทัล ณ ห้องประชุมเกษม จาติกวณิช 1 สํานักงานใหญ่ กฟผ. จังหวัดนนทบุรี
วิบูลย์ ฤกษ์ศิระชัย ผวก. กล่าวว่า “ปัจจุบัน Disruptive Technology เข้ามาสร้างผลกระทบต่อองค์กร และกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียขององค์กร ทําให้ กฟผ. ต้องปรับตัวให้พร้อมรับเปลียนแปลงดังกล่าว โดยได้การกําหนดเป้าหมายองค์กรสู่การเป็นโรงไฟฟ้า ดิจิทัลในอนาคต การจัดสัมมนาในครังนี ได้เชิญผู้เชียวชาญจากหน่วยงานภายนอกมาบรรยาย นับเป็นจุดเริมต้นในการปรับมายเซ็ท ของผู้ปฏิบัติงานเพือเตรียมความพร้อมสู่การเปลียนแปลงด้านดิจิทัล”
ณัฐวุฒิ แจ่มแจ้ง รวฟ. ได้กล่าวถึงแนวทางการดําเนินงานว่า “สายงาน รวฟ. ได้จัดตังทีมงาน เพือศึกษาและจัดทํา Roadmap สู่การเป็นโรงไฟฟ้าดิจิทัล ซึงเป็นแผนระยะยาว 15 ปี โดยมีวัตถุประสงค์ เพือนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนการสร้าง กระบวนการทํางาน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิงขึน มุ่งเน้นการปรับเปลียนสิงทีมีอยู่ให้ดีกว่าเดิม โดยแบ่งระยะการดําเนิน งานออกเป็น 4 ช่วง มีเป้าหมายสูงสุด คือ ใช้ระบบ AI เข้ามาคิดวิเคราะห์ประมวลผลการทํางาน มีศูนย์กลางในการควบคุมโรงไฟฟ้า ทังหมด นอกจากนียังส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานมีทักษะด้านการจัดการเทคโนโลยีให้สอดรับกับกระบวนการทํางาน ทีซับซ้อนขึน ในขณะ ทีผู้ปฏิบัติงานมีจํานวนลดลง
อัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชัย ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพือเศรษฐกิจและสังคม กล่าวว่า “การเปลียนผ่านของเทคโนโลยีดิจิทัลใน ประเทศไทยว่า ในปัจจุบันการไหลเวียนของข้อมูลเกิดขึนอย่างรวดเร็วและกําลังขยายเป็นวงกว้างด้วยการใช้งานระบบ Mobile หรือ อุปกรณ์เคลือนที การใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรืองทีสําคัญมาก เพือสร้างความมันใจให้กับผู้ใช้งานจึงมี การผลักดันกฎหมาย ดิจิทัล ได้แก่ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และ พรบ. การรักษาความมันคงปลอดภัยไซเบอร์”
นอกจากการสร้างมาตรฐานความปลอดภัยของข้อมูลแล้ว รัฐบาลยังให้ความสําคัญกับการจัดระบบสาธารณูปโภคขันพืนฐานภาย ใต้แผนยุทธศาสตร์แห่งชาติ 20 ปี จัดสร้างโครงข่ายบรอดแบนด์แห่งชาติ ให้ทุกหมู่บ้านมีอินเทอร์เน็ตเข้าถึง นอกจากนียังได้พัฒนา ออกแบบโครงสร้างและการสร้างมาตรฐานการจัดเก็บและแลกเปลียนข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) เพือให้หน่วยงานต่างๆ สามารถเข้า ถึงข้อมูลอันเป็นประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยประหยัดทรัพยากรและลดขันตอนการทํางานทีซับซ้อนลง
ดร.พิชัยรัตน์ จิรานันท์ ได้กล่าวถึงการเปลียนผ่านของภาคอุตสาหกรรมว่า “อํานาจของเทคโนโลยีดิจิทัล (Power of Digital) ทําให้เราทํางานได้รวดเร็วขึน (Power of speed) สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มากขึน (Power of storage) รวมทังเชือมต่อสือสารกันได้ สะดวกและรวดเร็วขึน (Power connectivity) สิงสําคัญของการนําข้อมูลเข้ามาพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม คือ
1.) หุ่นยนต์อัจฉริยะ (AI) ทีนําเครืองมืออิเล็กทรอนิกส์เข้ามาจําลองผัสสะทัง 5 ของมนุษย์ ตา จมูก หู ลิน กาย และนําไปประมวลผลต่อยอดสู่การทํางาน เช่น เทคโนโลยีกล้องทีใช้ในการผ่าตัดจําลองการมองเห็นของมนุษย์ ต่อยอดสู่การส่องกล้องผ่าตัดในระยะไกล เป็นต้น
2.) Internet of value ทีสามารถส่งข้อมูลถึงคนจํานวนมากในเวลารวดเร็ว ยกตัวอย่างเช่น ระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชีธุรกรรมออนไลน์ (Blockchain) ช่วยเพิมประสิทธิภาพในการทํางาน ลดค่าใช้จ่าย โดยไม่ต้องผ่านตัวกลาง คือสถาบันการเงิน หรือสํานักชําระบัญชี
3.) Digital Twin โดยผสานการดําเนินงานด้วยดิจิทัล และการทํางานด้วยมนุษย์ควบคู่กันไป นายคุริฮาระ มาซายูกิ ได้กล่าวถึงแผนงานระบบดิจิทัลสําหรับการเพิมประสิทธิภาพสินทรัพย์ของ กฟผ. ว่า “บริษัท มารุบินี คอร์ปอเรชัน ได้ดําเนินโครงการ Digitalization ของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ยูนิต 11 และ 13 ภายใต้สัญญา MOU ฉบับที 2 โดยมี วัตถุประสงค์เพือเพิมประสิทธิภาพและความพร้อมจ่ายของโรงไฟฟ้าภายในระยะเวลา 3 ปีของการดําเนินงานโครงการ
นอกจากนียังได้ ถ่ายทอด Digital Solution สําหรับระบบการจัดการพลังงานของ กฟผ. ซึงจะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของพนักงานต่อไป”
สุดท้าย รวฟ. ได้กล่าวขอบคุณวิทยากร ทีมงาน ผู้ปฏิบัติงานทีเข้าร่วมการสัมมนา และผู้ทีเกียวข้องทีทําให้งานสัมมนาเสร็จสินไป ได้ด้วยดี โดยสายงาน รวฟ. จะนําความรู้มิติมุมมองในการดําเนินงานทีได้รับ ไปประยุกต์ใช้ในจัดทําแผนการดําเนินงานด้านดิจิทัลให้ ทันสมัยพร้อมรับการเปลียนแปลงด้านเทคโนโลยีของโลกและของประเทศไทย และสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกับดําเนินงาน ของ กฟผ.